สำหรับบ้านที่ต้องการจะเปลี่ยนจากระบบบ่อเกรอะ-บ่อซึม มาใช้เป็นระบบถังบำบัดสำเร็จรูป แต่ไม่มีทางระบายน้ำสาธารณะมาในโซนพื้นที่บ้าน หรือ เป็นบ้านที่ระบบสาธารณูปโภคยังเข้าไม่ถึง ก็สามารถทำได้เช่นกัน โดยการเพิ่มศักยภาพการระบายน้ำให้ซึมลงดินของบ่อซึม
เป็นที่คุ้นเคยกันดี สำหรับบ้านที่มีอายุราวๆ 20-30 ปี มักจะมีปัญหาเรื่องระบบน้ำเสีย-น้ำทิ้งของห้องน้ำ หรือระบบสุขาภิบาล หลักๆ เป็นเพราะระบบเดิมที่เรียกว่า บ่อเกรอะบ่อซึม หรือบางท่านเรียกตามๆ กันมาว่า ส้วมซึม ซึ่งแท้จริงแล้วไม่ว่าห้องน้ำจะเป็นแบบชักโครกกดชำระล้าง หรือแบบนั่งยองราดล้าง ก็อาจจะเป็นระบบบ่อเกรอะบ่อซึมได้เช่นกัน ทั้งนี้ต้องสำรวจหน้างานอีกครั้ง ซึ่งปัญหาที่มักพบสำหรับระบบนี้คือ ราดน้ำหรือกดชำระล้างไม่ค่อยลง ประกอบกับถังส้วมเต็มบ่อยๆ จนต้องเรียกรถสุขาภิบาลมา อาการเหล่านี้นอกจากเป็นเพราะระบบท่อน้ำเสียและท่ออากาศอุดตันแล้ว ยังมีสาเหตุมาจากขนาดของบ่อเกรอะที่เล็กเกินไปจึงไม่เพียงพอต่อการใช้งาน
สาเหตุดังกล่าวยังผลให้หลายๆ บ้านต้องการเปลี่ยนมาใช้ระบบถังบำบัดสำเร็จรูป (ซึ่งโดยปกติแล้ว ระบบถังบำบัดสำเร็จรูปนี้จะส่งต่อไปยังทางระบายน้ำสาธารณะต่อไป) แต่บางบ้านที่ไม่มีทางระบายน้ำสาธารณะมาในโซนพื้นที่บ้าน หรือ เป็นบ้านที่ระบบสาธารณูปโภคยังเข้าไม่ถึง เทคอนกรีต การจะเปลี่ยนระบบสุขาภิบาลเดิมให้เป็นระบบถังบำบัดสำเร็จรูปเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียภายในตัว ลดการดูแลเรื่องของการดูดส้วม จึงกลายเป็นเรื่องคิดไม่ตกว่าจะทำได้หรือไม่อย่างไร ทางแก้ไขและประยุกต์ใช้ให้ได้ประสิทธิภาพของระบบถังบำบัดสำเร็จรูปในข้อจำกัดดังกล่าว สามารถทำได้โดยการขุดทำบ่อซึมเพื่อเป็นทางระบายน้ำออกจากถังบำบัดสำเร็จรูป อาศัยหลักการลำเลียงของเสียเข้าสู่ตัวถัง ที่ความลาดเอียงของท่อ 1:100 ติดตั้งตามมาตรฐาน เติมจุลินทรีย์ลงในตะกร้อพลาสติกที่ให้มาในถังบำบัดสำเร็จรูปเป็นส่วนให้จุลินทรีย์เกาะบำบัดสิ่งปฏิกูล (Media) ติดตั้งระบบท่ออากาศของถังบำบัด จากนั้นน้ำที่ผ่านการบำบัดจะต้องถูกลำเลียงทิ้งและระบายลงดินให้ได้มากที่สุด (หรือหากบ่อซึมเดิมมีการซึมน้ำที่ดี ไม่มีน้ำเต็มบ่อดังกล่าว เมื่อทำการสำรวจสามารถใช้บ่อซึมเดิมได้ ประกอบกับการวางบ่อซึมเพิ่มได้เช่นกัน) ซึ่งมีวิธีการดังต่อไปนี้
1. สำรวจพื้นที่ติดตั้งถังบำบัดสำเร็จรูป: หากมีพื้นที่มากพอ ควรเลือกตำแหน่งติดตั้งถังบำบัดสำเร็จรูปในบริเวณที่ไม่ใช่ตำแหน่งบ่อเกรอะเดิม เนื่องจากต้องดูดกากของเสีย และรื้อบ่อเกรอะเดิมออก รวมถึงเตรียมโครงสร้างรองรับใต้ถังบำบัดใหม่ด้วยระบบเสาเข็มสั้น
2. สำรวจพื้นที่เพื่อทำบ่อซึมน้ำ: สั่งจองคอนกรีต สำหรับน้ำที่ผ่านการบำบัดจากถังบำบัดสำเร็จรูปมักไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องกลิ่นมากนัก จึงสามารถลำเลียงน้ำทิ้งไปยังจุดที่ต้องการให้น้ำซึมลงดิน (ทั้งนี้ หากระยะการลำเลียงยาวมากกว่า 6 เมตร ควรติดตั้งบ่อพักทุกๆ ระยะ 6 เมตร) ควรเลือกพื้นที่สำหรับทำบ่อซึมในพื้นที่ที่มีน้ำในดินน้อย ความลึกหรือปริมาตรขึ้นอยู่กับสภาพหน้างาน อาจจะมีมากกว่า 1 หลุมแล้วแต่พื้นที่ ความลึกควรลึกมากกว่า 1.5 เมตร หรือมากกว่าของเดิมที่มีประมาณ 2 เท่า เพื่อเพิ่มปริมาตรบ่อซึมให้รองรับน้ำ รอซึมลงดินได้เพียงพอ
https://goo.gl/TeCJbJ
เป็นที่คุ้นเคยกันดี สำหรับบ้านที่มีอายุราวๆ 20-30 ปี มักจะมีปัญหาเรื่องระบบน้ำเสีย-น้ำทิ้งของห้องน้ำ หรือระบบสุขาภิบาล หลักๆ เป็นเพราะระบบเดิมที่เรียกว่า บ่อเกรอะบ่อซึม หรือบางท่านเรียกตามๆ กันมาว่า ส้วมซึม ซึ่งแท้จริงแล้วไม่ว่าห้องน้ำจะเป็นแบบชักโครกกดชำระล้าง หรือแบบนั่งยองราดล้าง ก็อาจจะเป็นระบบบ่อเกรอะบ่อซึมได้เช่นกัน ทั้งนี้ต้องสำรวจหน้างานอีกครั้ง ซึ่งปัญหาที่มักพบสำหรับระบบนี้คือ ราดน้ำหรือกดชำระล้างไม่ค่อยลง ประกอบกับถังส้วมเต็มบ่อยๆ จนต้องเรียกรถสุขาภิบาลมา อาการเหล่านี้นอกจากเป็นเพราะระบบท่อน้ำเสียและท่ออากาศอุดตันแล้ว ยังมีสาเหตุมาจากขนาดของบ่อเกรอะที่เล็กเกินไปจึงไม่เพียงพอต่อการใช้งาน
สาเหตุดังกล่าวยังผลให้หลายๆ บ้านต้องการเปลี่ยนมาใช้ระบบถังบำบัดสำเร็จรูป (ซึ่งโดยปกติแล้ว ระบบถังบำบัดสำเร็จรูปนี้จะส่งต่อไปยังทางระบายน้ำสาธารณะต่อไป) แต่บางบ้านที่ไม่มีทางระบายน้ำสาธารณะมาในโซนพื้นที่บ้าน หรือ เป็นบ้านที่ระบบสาธารณูปโภคยังเข้าไม่ถึง เทคอนกรีต การจะเปลี่ยนระบบสุขาภิบาลเดิมให้เป็นระบบถังบำบัดสำเร็จรูปเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายของเสียภายในตัว ลดการดูแลเรื่องของการดูดส้วม จึงกลายเป็นเรื่องคิดไม่ตกว่าจะทำได้หรือไม่อย่างไร ทางแก้ไขและประยุกต์ใช้ให้ได้ประสิทธิภาพของระบบถังบำบัดสำเร็จรูปในข้อจำกัดดังกล่าว สามารถทำได้โดยการขุดทำบ่อซึมเพื่อเป็นทางระบายน้ำออกจากถังบำบัดสำเร็จรูป อาศัยหลักการลำเลียงของเสียเข้าสู่ตัวถัง ที่ความลาดเอียงของท่อ 1:100 ติดตั้งตามมาตรฐาน เติมจุลินทรีย์ลงในตะกร้อพลาสติกที่ให้มาในถังบำบัดสำเร็จรูปเป็นส่วนให้จุลินทรีย์เกาะบำบัดสิ่งปฏิกูล (Media) ติดตั้งระบบท่ออากาศของถังบำบัด จากนั้นน้ำที่ผ่านการบำบัดจะต้องถูกลำเลียงทิ้งและระบายลงดินให้ได้มากที่สุด (หรือหากบ่อซึมเดิมมีการซึมน้ำที่ดี ไม่มีน้ำเต็มบ่อดังกล่าว เมื่อทำการสำรวจสามารถใช้บ่อซึมเดิมได้ ประกอบกับการวางบ่อซึมเพิ่มได้เช่นกัน) ซึ่งมีวิธีการดังต่อไปนี้
1. สำรวจพื้นที่ติดตั้งถังบำบัดสำเร็จรูป: หากมีพื้นที่มากพอ ควรเลือกตำแหน่งติดตั้งถังบำบัดสำเร็จรูปในบริเวณที่ไม่ใช่ตำแหน่งบ่อเกรอะเดิม เนื่องจากต้องดูดกากของเสีย และรื้อบ่อเกรอะเดิมออก รวมถึงเตรียมโครงสร้างรองรับใต้ถังบำบัดใหม่ด้วยระบบเสาเข็มสั้น
2. สำรวจพื้นที่เพื่อทำบ่อซึมน้ำ: สั่งจองคอนกรีต สำหรับน้ำที่ผ่านการบำบัดจากถังบำบัดสำเร็จรูปมักไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องกลิ่นมากนัก จึงสามารถลำเลียงน้ำทิ้งไปยังจุดที่ต้องการให้น้ำซึมลงดิน (ทั้งนี้ หากระยะการลำเลียงยาวมากกว่า 6 เมตร ควรติดตั้งบ่อพักทุกๆ ระยะ 6 เมตร) ควรเลือกพื้นที่สำหรับทำบ่อซึมในพื้นที่ที่มีน้ำในดินน้อย ความลึกหรือปริมาตรขึ้นอยู่กับสภาพหน้างาน อาจจะมีมากกว่า 1 หลุมแล้วแต่พื้นที่ ความลึกควรลึกมากกว่า 1.5 เมตร หรือมากกว่าของเดิมที่มีประมาณ 2 เท่า เพื่อเพิ่มปริมาตรบ่อซึมให้รองรับน้ำ รอซึมลงดินได้เพียงพอ
Tag :
คอนกรีตที่น้ำซึม,
ระบายน้ำสาธารณะ