คอนกรีตมีวันหมดอายุแน่นอน ขึ้นอยู่กับส่วนผสมของคอนกรีตว่าผสมได้สัดส่วนของคอนกรีตถูกต้องเพียงใด
การใช้งานและขึ้นกับสภาพแวดล้อมนั้นๆด้วย สภาพแวดล้อมแต่ละที่แตกต่างกันก็มีผลต่ออายุการใช้งานของคอนกรีต เช่นความชื้นของน้ำ ถ้าน้ำสามารถแทรกซึมเข้าไปในผิวของคอนกรีตได้ แล้วก็เข้าไปทำลายเหล็ก จะทำให้อายุของคอนกรีตสั้นลง โดยธรรมชาติแล้วน้ำจะมีอยู่ในอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ในบ้านเราประมาณ ๗๕ % จะมากกว่าหรือน้อยกว่านั้นแล้วแต่ช่วงเวลา
การเลือกใช้หินที่ผสม ก็มีผลเช่นกัน ปัญหาส่วนใหญ่พบว่ามีการใช้หินที่มีแร่ ไพไรซ์ ปะปนมาผสม พบมากในภาคอีสานโดยเฉพาะจังหวัดนครราชสีมา แร่ตัวนี้จะทำปฏิกิริยากับความชื้นและอากาศได้กรดฟูลิค ส่งผลให้คอนกรีตเกิดการแตกร้าวและหลุดร่อนได้ มักพบในผิวคอนกรีตที่ได้รับความชื้นอยูเสมอ เช่นผิวนอกของอาคาร สังเกตได้โดยจะเห็นเป็นรอยสนิมเหล็กอยู่รอบๆรอยแตก
อายุการใช้งานของคอนกรีตโดยทั่วไปก็ประมาณสามสิบปี แต่ก็สามารถใช้งานได้ถึงห้าสิบปี หากเริ่มปรากฎรอยเสื่อมสภาพให้เห็น เช่น มีการหลุดร่อนของเนื้อคอนกรีต มีรอยแตกปริให้เห็นตามเสา คาน พื้น มีรอยสนิมเกิดขึ้นเพราะเนื้อคอนกรีตแยกตัวจนทำให้เหล็กข้างในเป็นสนิมได้ ก็แสดงว่าเริ่มเสื่อมสภาพ
ถ้าจะเอาตามมาตราฐานจริงๆก็คงต้องทุบทิ้งทำใหม่ ในความเป็นจริงก็สามารถอยู่ได้ถึงห้าสิบปีหรือเป็นร้อยปี ถ้าดูแลดีๆและคอนกรีตได้มาตราฐาน แต่โดยทั่วไปถ้าเป็นบ้านหรือที่อยู่อาศัยก็ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยให้มากๆว่าสมควรทำใหม่ได้หรือยัง ต้องให้วิศวกรตรวจสอบให้ละเอียดถี่ถ้วน อย่างสะพานเดชาติวงศ์ที่รถวิ่งขึ้นเหนือต้องผ่าน สะพานอันเก่าอายุมากกว่าห้าสิบปีแล้ว เขาก็หยุดให้รถวิ่งนานแล้ว แต่ก็ยังคงสภาพเอาไว้ให้ดูเป็นที่ระลึกได้ เพียงแต่ถ้าให้รถวิ่งมันจะอันตราย
เพิ่มเติม
1. ถ้าได้รับปริมาณของฝนไปนานๆจะทำอนุภาคน้ำพวกเนี้ยอะครับ เเทรกเข้าไปในช่องว่างระหว่างโมเลกุล ซึ่งมันก็จะเข้าไปเเทรกในนั้นเเละ เมื่อฝนตกเสร็จถ้าโชคดีถ้าวันนั้นร้อนนะครับอุณภูมิความร้อนจะทำให้อนุภาคน้ำนี้เกิดเเรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค ที่น้อยลงซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนสถานะ จากของเหลวไปเป็น ก๊าซ ครับ ส่วนถ้า วันนั้นโชคร้ายดันอากาศเย็นอะครับ อุณภูมิความเย็นนี้จะทำให้น้ำเนี้ยเกิดเเรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคที่มากขึ้นซึ่งทำให้เกิดการเปลีี่ยนสถานะจากของเหลวไป เป็นของเเข็ง ซึ่งของเเข็งนี้ก็จะไปดันโมเลกุลของ คอนกรีตให้เกิดกระจายออกจะกันซึ่งทำให้เป็นช่องว่างหรือ รอยร้าวนั้นเองครับ
2. คือถ้าในบริเวณเเถวนั้นเป็นบริเวณที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม เยอะมากสิ่งที่ปลดปล่อยออกมาจากโรงงานนั้นเป็นก๊าซที่เราเรียกว่าก๊าซ co2 หรือ carbondiaoxide นั้นเองครับ เเละก็ก๊าซอื่นๆเช่น กรดซัลเซอริก เเละ กรดไนตริก ก๊าซพวกนี้จะขึ้นไปบนชั้นเเถวๆ troposphere เเละจะไปทำปฏิกริยาทางเคมีบนนั้นซึ่งทำให้เกิดฝนตกลงมามาเพราะเกิดจากก๊าซที่ขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศที่มีอุณภูมิ ติด - ซึ่งอุณภูมิความเย็นจะทำให้เกิดเเรงยึดเหนี่ยวอนุภาคที่มากขึ้น ซึ่งทำให้เกิดการเปลีี่ยนจากก๊าซไปเป็นของ เหลวซึ่งนั้นก็คือ ฝนนั้นเองครับ เเละก๊าซที่ถูกปลดปล่อยมาจากโรงงานนั้นจะเข้าไปผสมกับ ฝนพวกนี้เเละ ถ้ามันเขาไปปะทะกับ คอนกรีต จะทำให้เกิดการกัดเซาะขึ้น เพราะ กรดไนตริก เเละ กรดซัวเซอริก เเละ co2 นั้นมีฤทธิ์ เป็นกรดซึ่งจะเข้าไปกัดกร่อนพวกอนุภาคต่างๆของ คอนกรีต
การใช้งานและขึ้นกับสภาพแวดล้อมนั้นๆด้วย สภาพแวดล้อมแต่ละที่แตกต่างกันก็มีผลต่ออายุการใช้งานของคอนกรีต เช่นความชื้นของน้ำ ถ้าน้ำสามารถแทรกซึมเข้าไปในผิวของคอนกรีตได้ แล้วก็เข้าไปทำลายเหล็ก จะทำให้อายุของคอนกรีตสั้นลง โดยธรรมชาติแล้วน้ำจะมีอยู่ในอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ในบ้านเราประมาณ ๗๕ % จะมากกว่าหรือน้อยกว่านั้นแล้วแต่ช่วงเวลา
การเลือกใช้หินที่ผสม ก็มีผลเช่นกัน ปัญหาส่วนใหญ่พบว่ามีการใช้หินที่มีแร่ ไพไรซ์ ปะปนมาผสม พบมากในภาคอีสานโดยเฉพาะจังหวัดนครราชสีมา แร่ตัวนี้จะทำปฏิกิริยากับความชื้นและอากาศได้กรดฟูลิค ส่งผลให้คอนกรีตเกิดการแตกร้าวและหลุดร่อนได้ มักพบในผิวคอนกรีตที่ได้รับความชื้นอยูเสมอ เช่นผิวนอกของอาคาร สังเกตได้โดยจะเห็นเป็นรอยสนิมเหล็กอยู่รอบๆรอยแตก
อายุการใช้งานของคอนกรีตโดยทั่วไปก็ประมาณสามสิบปี แต่ก็สามารถใช้งานได้ถึงห้าสิบปี หากเริ่มปรากฎรอยเสื่อมสภาพให้เห็น เช่น มีการหลุดร่อนของเนื้อคอนกรีต มีรอยแตกปริให้เห็นตามเสา คาน พื้น มีรอยสนิมเกิดขึ้นเพราะเนื้อคอนกรีตแยกตัวจนทำให้เหล็กข้างในเป็นสนิมได้ ก็แสดงว่าเริ่มเสื่อมสภาพ
ถ้าจะเอาตามมาตราฐานจริงๆก็คงต้องทุบทิ้งทำใหม่ ในความเป็นจริงก็สามารถอยู่ได้ถึงห้าสิบปีหรือเป็นร้อยปี ถ้าดูแลดีๆและคอนกรีตได้มาตราฐาน แต่โดยทั่วไปถ้าเป็นบ้านหรือที่อยู่อาศัยก็ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยให้มากๆว่าสมควรทำใหม่ได้หรือยัง ต้องให้วิศวกรตรวจสอบให้ละเอียดถี่ถ้วน อย่างสะพานเดชาติวงศ์ที่รถวิ่งขึ้นเหนือต้องผ่าน สะพานอันเก่าอายุมากกว่าห้าสิบปีแล้ว เขาก็หยุดให้รถวิ่งนานแล้ว แต่ก็ยังคงสภาพเอาไว้ให้ดูเป็นที่ระลึกได้ เพียงแต่ถ้าให้รถวิ่งมันจะอันตราย
เพิ่มเติม
1. ถ้าได้รับปริมาณของฝนไปนานๆจะทำอนุภาคน้ำพวกเนี้ยอะครับ เเทรกเข้าไปในช่องว่างระหว่างโมเลกุล ซึ่งมันก็จะเข้าไปเเทรกในนั้นเเละ เมื่อฝนตกเสร็จถ้าโชคดีถ้าวันนั้นร้อนนะครับอุณภูมิความร้อนจะทำให้อนุภาคน้ำนี้เกิดเเรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค ที่น้อยลงซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนสถานะ จากของเหลวไปเป็น ก๊าซ ครับ ส่วนถ้า วันนั้นโชคร้ายดันอากาศเย็นอะครับ อุณภูมิความเย็นนี้จะทำให้น้ำเนี้ยเกิดเเรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคที่มากขึ้นซึ่งทำให้เกิดการเปลีี่ยนสถานะจากของเหลวไป เป็นของเเข็ง ซึ่งของเเข็งนี้ก็จะไปดันโมเลกุลของ คอนกรีตให้เกิดกระจายออกจะกันซึ่งทำให้เป็นช่องว่างหรือ รอยร้าวนั้นเองครับ
2. คือถ้าในบริเวณเเถวนั้นเป็นบริเวณที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม เยอะมากสิ่งที่ปลดปล่อยออกมาจากโรงงานนั้นเป็นก๊าซที่เราเรียกว่าก๊าซ co2 หรือ carbondiaoxide นั้นเองครับ เเละก็ก๊าซอื่นๆเช่น กรดซัลเซอริก เเละ กรดไนตริก ก๊าซพวกนี้จะขึ้นไปบนชั้นเเถวๆ troposphere เเละจะไปทำปฏิกริยาทางเคมีบนนั้นซึ่งทำให้เกิดฝนตกลงมามาเพราะเกิดจากก๊าซที่ขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศที่มีอุณภูมิ ติด - ซึ่งอุณภูมิความเย็นจะทำให้เกิดเเรงยึดเหนี่ยวอนุภาคที่มากขึ้น ซึ่งทำให้เกิดการเปลีี่ยนจากก๊าซไปเป็นของ เหลวซึ่งนั้นก็คือ ฝนนั้นเองครับ เเละก๊าซที่ถูกปลดปล่อยมาจากโรงงานนั้นจะเข้าไปผสมกับ ฝนพวกนี้เเละ ถ้ามันเขาไปปะทะกับ คอนกรีต จะทำให้เกิดการกัดเซาะขึ้น เพราะ กรดไนตริก เเละ กรดซัวเซอริก เเละ co2 นั้นมีฤทธิ์ เป็นกรดซึ่งจะเข้าไปกัดกร่อนพวกอนุภาคต่างๆของ คอนกรีต
Tag :
คอนกรีตงานหล่อ