พื้นสำเร็จรูปแบบกลวง HOLLOW CORE SLAB เป็นระบบแผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูปแบบกลวงเสริมด้วย
ลวดอัดแรงผลิตจากคอนกรีตแห้งหรือ NO SLUMP CONCRETE มีความสามารถในการรับน้ำหนักในช่วงค่อนข้างยาว
ตั้งแต่ 4.0-15.0 เมตร ข้อดีคือ ประหยัดเมื่อเปรียบเทียบกับระบบอื่นเช่น พื้นเทกับที่ หรือ แผ่นพื้นไร้คานการก่อสร้าง
หากเป็นผู้รับเหมาที่ชำนาญการใช้แผ่นพื้นสำเร็จรูปก็จะก่อสร้างได้รวดเร็วมากวิธีการติดตั้งดำเนินการเหมือน
มีความแข็งแรงสามารถรับน้ำหนักได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดเวลา แรงงานและค่าใช้จ่ายในการค้ำยัน ลดปัญหาเรื่องปลวก
ข้อควรระวัง
ในการใช้พื้นสำเร็จรูปคืออาจมีปัญหาได้หากต้องเจาะพื้นภายหลัง เพราะอาจตัดถูกลวดอัดแรงและ
แผ่นพื้นอาจมีปัญหาการรั่วซึมของน้ำระหว่างรอยต่อหากเทคอนกรีตทับหน้าไม่หนาพอ หรือปรับ slope ไม่ดีจนมีน้ำขัง
จึงไม่ควรใช้ในส่วนของพื้นห้องน้ำหรือดาดฟ้า รวมทั้งห้องใต้ดิน แผ่นพื้น HOLLOW CORE โดยทั่วไปจะมีการผลิต
ที่ความกว้าง 2 ขนาด คือ 0.60 ม. และ 1.20 ม. ยกเว้นกรณีแผ่นบาก(SPLIT) ซึ่งจะมีการกำหนดความกว้าง
ของแผ่นเป็นกรณีไป ส่วนความหนาจะขึ้นอยู่กับช่วงความยาวหรือ SPAN LENGTH ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ 4.0 ม.
จนถึง 15.0 ม. และ น้ำหนักบรรทุกจรที่ถูกกำหนดตามชนิดของอาคารที่ระบุในแบบก่อสร้าง"พื้นสำเร็จรูปแบบกลวง
HOLLOW CORE SLAB"
2. กำลังอัดประลัยของคอนกรีต ขณะตัดลวดเพื่อถ่ายแรงอัดไม่ต่ำกว่า 240 กก/ตร.ซม.(cylinder)
3. กำลังอัดประลัยของคอนกรีตทับหน้า (Topping) ที่อายุ 28 วัน ไม่ต่ำกว่า 210 กก/ตร.ซม.(cylinder)
4. ลวดอัดแรง เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.420-2534 และมอก.95-2531
5. การผลิตแผ่นพื้นเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.576-2546 ประเภท 1 (F0)
6. การทดสอบการรับน้ำหนักของแผ่นพื้นเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.557-2531
ที่มา : http://www.civilclub.net
ลวดอัดแรงผลิตจากคอนกรีตแห้งหรือ NO SLUMP CONCRETE มีความสามารถในการรับน้ำหนักในช่วงค่อนข้างยาว
ตั้งแต่ 4.0-15.0 เมตร ข้อดีคือ ประหยัดเมื่อเปรียบเทียบกับระบบอื่นเช่น พื้นเทกับที่ หรือ แผ่นพื้นไร้คานการก่อสร้าง
หากเป็นผู้รับเหมาที่ชำนาญการใช้แผ่นพื้นสำเร็จรูปก็จะก่อสร้างได้รวดเร็วมากวิธีการติดตั้งดำเนินการเหมือน
แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบตันแต่
คุณสมบัติที่เหนือกว่าคือไม่ต้องมีค้ำยันระหว่างการเททับหน้าเนื่องจากแผ่นพื้นมีความแข็งแรงสามารถรับน้ำหนักได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดเวลา แรงงานและค่าใช้จ่ายในการค้ำยัน ลดปัญหาเรื่องปลวก
ข้อควรระวัง
ในการใช้พื้นสำเร็จรูปคืออาจมีปัญหาได้หากต้องเจาะพื้นภายหลัง เพราะอาจตัดถูกลวดอัดแรงและ
แผ่นพื้นอาจมีปัญหาการรั่วซึมของน้ำระหว่างรอยต่อหากเทคอนกรีตทับหน้าไม่หนาพอ หรือปรับ slope ไม่ดีจนมีน้ำขัง
จึงไม่ควรใช้ในส่วนของพื้นห้องน้ำหรือดาดฟ้า รวมทั้งห้องใต้ดิน แผ่นพื้น HOLLOW CORE โดยทั่วไปจะมีการผลิต
ที่ความกว้าง 2 ขนาด คือ 0.60 ม. และ 1.20 ม. ยกเว้นกรณีแผ่นบาก(SPLIT) ซึ่งจะมีการกำหนดความกว้าง
ของแผ่นเป็นกรณีไป ส่วนความหนาจะขึ้นอยู่กับช่วงความยาวหรือ SPAN LENGTH ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ 4.0 ม.
จนถึง 15.0 ม. และ น้ำหนักบรรทุกจรที่ถูกกำหนดตามชนิดของอาคารที่ระบุในแบบก่อสร้าง"พื้นสำเร็จรูปแบบกลวง
HOLLOW CORE SLAB"
ข้อกำหนดทั่วไปของพื้นสำเร็จรูปแบบกลวง Hollow Core Slab
1. กำลังประลัยของคอนกรีตที่อายุ 28 วัน ไม่ต่ำกว่า 350 กก/ตร.ซม.(cylinder)2. กำลังอัดประลัยของคอนกรีต ขณะตัดลวดเพื่อถ่ายแรงอัดไม่ต่ำกว่า 240 กก/ตร.ซม.(cylinder)
3. กำลังอัดประลัยของคอนกรีตทับหน้า (Topping) ที่อายุ 28 วัน ไม่ต่ำกว่า 210 กก/ตร.ซม.(cylinder)
4. ลวดอัดแรง เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.420-2534 และมอก.95-2531
5. การผลิตแผ่นพื้นเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.576-2546 ประเภท 1 (F0)
6. การทดสอบการรับน้ำหนักของแผ่นพื้นเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.557-2531
ที่มา : http://www.civilclub.net
Tag :
HOLLOW CORE SLAB